เป้าหมาย (Understanding Goal):

เป้าหมาย (Understanding Goal):เข้าใจกระบวนการผลิต การได้มาของผ้าและเห็นความสัมพันธ์กับวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ในอดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสามารถ ออกแบบสร้างสรรค์งานผ้าให้เกิดมูลค่า หรือต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์จากผ้าได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์

Main












web เชื่อมโยงสาระการเรียนรู้

Main Idea : 
ผ้ามีวิวัฒนาการและกระบวนการได้มาที่หลากหลายมีความสอดคล้องต่อวิถีชีวิตของคนทุกยุคสมัย และเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์
Big  Question :
ผ้ามีกระบวนการผลิตและสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของแต่ละพื้นถิ่นอย่างไร เราจะออกแบบ ประดิษฐ์ ตัดเย็บ ซ่อมแซม และสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าได้อย่างไร
เป้าหมาย(Understanding Goal):

เข้าใจกระบวนการผลิต การได้มาของผ้าและเห็นความสัมพันธ์กับวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ในอดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสามารถ ออกแบบสร้างสรรค์งานผ้าให้เกิดมูลค่า หรือต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์จากผ้าได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์

ภูมิหลังของปัญหา :
               ปัจจุบันการทอผ้าใช้เองจากผ้าฝ้าย ผ้าไหมเริ่มลดลงไปตามยุคตามสมัย ผู้คนต้องการความสะดวกสบายและหันไปใช้เสื้อผ้าที่ทำจากใยสังเคราะห์ในระบบอุตสาหกรรม ทำให้วิถีดั้งเดิมในเรื่องของการทอผ้าใช้เอง ความงดงามของการของกระบวนการผลิตผ้าพื้นเมืองกำลังค่อยๆสูญหายไป นักเรียนบางคนไม่รู้จักที่มาของผืนผ้าพื้นเมือง การได้มาของเส้นใยแต่ละชนิดที่นำมาทำผืนผ้า ซึ่งส่งผลให้ขาดทักษะการดูแลรักษา การซ่อมแซม รวมทั้งการประยุกต์หรือนำกลับมาใช้ใหม่คุ้มค่า อย่างเหมาะสม

              จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นการเรียนรู้หน่วยผ้า จะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการได้ของผ้าพื้นเมือง ตั้งแต่การเลี้ยงหนอนไหม รวมทั้งกระบวนการต่างๆจนสำเร็จเป็นผืนผ้า ทั้งยังสามารถออกแบบ ประดิษฐ์ ตัดเย็บ ซ่อมแซมและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากผ้าใช้เองได้อย่างเหมาะสม

สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
ผ้าใช้ในชีวิตประจำวัน
ผ้าใยแมงมุมกันกระสุนได้
ผ้าติดไฟ/ดับไฟได้
ผืนผ้าทำเป็นเครื่องนุ่งห่ม
ผ้าทำกระเป๋าได้
ผ้าใส่เพื่อความสวยงาม/ให้ความอบอุ่น
ญี่ปุ่นผลิตเส้นไหมได้
ผ้าเกี่ยวข้องกับธรรมชาติ
ผืนผ้ามาจากเส้นไหม/เส้นใย
ผ้าขาวม้าเป็นชุดของโรงเรียนเรา (ลำปลายมาศพัฒนา)
ผ้าแต่ละชนิดแตกต่างกัน
ตุ๊กตาทำจากผ้าได้
ผ้าทำใบเรือได้
ผ้านำไปปักลวดลายได้
ผ้าเย็บด้วยเครื่องฯและมือได้
ผ้านำกลับมาใช้ใหม่ได้
ผ้าแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มคน
ผ้าประดิษฐ์เป็นของเล่น/ของใช้ได้หลากหลาย
ลวดลายบนผ้าเกิดขึ้นแตกต่างกัน
ร่มชูชีพผลิตจากผ้า
เส้นใยกล้วยทำเป็นผ้าได้
ถ้าไม่มีผ้าจะเป็นอย่างไร
ผ้ามีกี่ชนิดอะไรบ้าง
สีย้อมผ้าจากธรรมชาติได้จากอะรบ้าง
การผลิตผ้ามีกระบวนการอะไรบ้าง
จะนำผ้าไปประยุกต์ใช้เป็นอะไรได้บ้าง
สร้างลวดลายลงไปบนผืนผ้าได้อย่างไรบ้าง
ผ้าทำจากอะไรได้บ้าง
ผ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร
การผลิตผ้าส่งผลกกระทบด้านใดบ้าง/อันตราย
เส้นใยอะไรผลิตผ้าได้
ผ้ากับต้นไม้เกี่ยวข้องกันอย่างไร
ลวดลายผ้าแต่ละพื้นถิ่นเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
จะนำขนสัตว์มาทำผืนผ้าได้อย่างไร
ทำไมผ้าต้องมีสีหรือลาย
ชุดนักบินอวกาศผลิตจากผ้าอะไร
ผ้าเกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆอย่างไร
ผ้าเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร
ผ้าไหมมีกระบวนการทออย่างไร
ผ้าพันคอทำอย่างไรได้บ้าง
หมวกผ้าทำอย่างไร
เราจะนำผ้ามาสร้างมูลค่าได้อย่างไร
ผ้ามีวิธีการเย็บอย่างไรบ้าง



ปฏิทินการเรียนรู้
หน่วย ผ้า

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2559
Week
Input
Process
Output
Outcome









1
โจทย์ :
วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้?
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ในเรื่องนี้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Think Pair Share
- Blackboard Share
- Mind Mapping
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
คลิปเพลง เสื้อแห่งความสุข
- ผ้า
การสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้เกิดความอยากเรียนรู้ นักเรียนนำเสนอ Time Line หนอนไหมที่นักเรียนเลี้ยงใน Quarter 1”(เลี้ยง 2 รอบ)
นักเรียนเลือกชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่นักเรียนสนใจเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการคิด Think Pair Share
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
ความรู้ก่อนเรียนรู้ Mind Mapping
วางแผนปฏิทินการเรียนรู้ร่วมกัน
นำเสนอปฏิทินของกลุ่ม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ฟอกเส้นไหม
ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับชื่อหน่วยการเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้

ชิ้นงาน
- วาดภาพตกแต่งชื่อหน่วยการเรียนรู้
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
-   เข้าใจสามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
-   เข้าใจและสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกันได้อย่างเป็นขั้นตอน มีเป้าหมาย และสร้างสรรค์
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ









2
โจทย์ :
กระบวนการได้มาของเส้นใย ลายผ้าและการมัดย้อม

Key Questions :
-   - เส้นใยผ้าแต่ละชนิดมีกระบวนการได้มาเหมือนหรือต่างกันย่างไรบ้าง?
-  - เราจะได้ลวดลาย และผ้าสีต่างๆโดยใช้วัตถุดิบในธรรมชาติอย่างไร
-เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
-  Round Robin
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง เชือกกล้วย เส้นใย เส้นด้าย ไหมพรม ใยสังเคราะห์ สีย้อม 
- วัตถุดิบให้สีธรรมชาติ(แก่นขนุน ใบหูกวาง ฯลฯ)

กิจกรรม
- นักเรียนสังเกตและแยกประเภทเส้นใยจากผ้าหลากหลายชนิดตามความเข้าใจ พร้อมนำเสนอแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเส้นใยต่าง ครูร่วมแลกเปลี่ยน
- นักเรียนประดิษฐ์ โคมไฟเส้นด้าย
- นักเรียนสังเกตลายผ้าต่างๆ (ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ฯลฯ)
- คลิปวีดีโอ การได้มาของสีจากธรรมชาติ
- ผู้ปกครองพาย้อมเส้นไหม (เส้นไหมจาก Quarter 1)
- ออกแบบและวางแผนมัดย้อมเส้นใยผ้า (เส้นไหมพรม) เพื่อนำไปใช้ในการทำผ้าจากเส้นใยไหมพรม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
กิจกรรมที่ใช้เวลานาน เช่นถักไหมพรม  นักเรียนจะทำในเวลาว่างหรือนำกลับไปทำต่อที่บ้าน







ภาระงาน
ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการจัดประเภทเส้นใยผ้า
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเส้นใยของผ้าแต่ละชนิด
- ออกแบบการมัดย้อมเส้นใยไหมพรมของตนเอง
- ย้อมเส้นใยไหม

ชิ้นงาน
-  ชาร์ต แยกประเภทเส้นใยจากผ้า
งานจากเส้นใยไหมพรม เช่น ผ้าพันคอ ถักเสื้อ ผ้าคลุม ฯลฯ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจกระบวนการได้มาของเส้นใย การออกแบบลายผ้าอย่างสร้างสรรค์ กระบวนการและวิธีการย้อมผ้าจากสีธรรมชาติ รวมทั้งสร้างสรรค์ชิ้นงานผืนผ้าจากเส้นใยต่างๆได้อย่างเหมาะสม

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น
3
โจทย์ :
วางแผนและออกแบบการทอผ้า
(นวัตกรรมใหม่ในการทอผ้า)
Key Questions :
-   อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้ามีหน้าที่แตกต่างกันอย่างไรและจะสามารถนำอุปกรณ์ในท้องถิ่นมาใช้ทดแทนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?
-   ถ้าไม่มีกี่ทอผ้า เราจะมีวิธีผลิตผ้าได้อย่างไรบ้าง?         
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง เส้นด้าย เส้นใยผ้า
ผู้ปกครองร่วมออกแบบและสร้างการเรียนรู้ กระบวนการและการทอผ้า” (เส้นไหมจาก Quarter 1)
ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนการทอผ้า
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ขั้นตอนการทอผ้าและวิธีการทอผ้า
- นักเรียนคิดค้นวัตกรรมใหม่ในการทำเส้นด้ายให้เป็นผืนผ้า เช่น ผ้าพันคอ แผ่นรองแก้ว เข็มขัด กำไลมือ ถักเสื้อ จากไหมพรม ***.ออกแบบกี่ถักเอง













ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
หมายเหตุ
-เรียนรู้กระบวรการทอผ้าจากสถานที่จริง ทัศนศึกษา (ศูนย์ศิลปาชีพพิเศษ บ้านนาโพธิ์)
นักเรียนเรียนรู้การปักและการเย็บผ้า ผ่านกิจกรรมจิตศึกษาและช่วงเวลาว่าง
ภาระงาน
-   แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการทำเส้นด้ายเป็นผืนผ้า
-   ทอผ้าไหม

ชิ้นงาน
-   สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ขั้นตอนการทอผ้าและวิธีการทอผ้า
-   งานไหมพรม เช่น ผ้าพันคอ แผ่นรองแก้ว เข็มขัด กำไลมือ ถักเสื้อ
-   สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและอธิบายหน้าที่ของอุปกรณ์การทอผ้าแต่ละชิ้น และสามารถออกแบบ วางแผนการทอผ้า อีกทั้งนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการถักทอผ้าแบบอื่นๆ ได้อย่างสร้างสรรค์

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น
4
โจทย์ :
งานสร้างสรรค์จากผ้า

Key Questions :
-          นักเรียนจะออกแบบตัดเย็บผ้าโดยการเย็บผ้าวิธีต่างๆ ให้สามารถนำมาใช้งานจริงได้อย่างไรบ้าง?
-          
                                  
เครื่องมือคิด :
-  Brain Storms
- Show and Share
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน
-ผู้ปกครอง

สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
-อุปกรณ์การเนา เข็ม
-อุปกรณ์การตัดเย็บ
- ศึกษาขั้นตอนเกี่ยวกับงานประดิษฐ์จากผ้าแบบต่างๆ จากคุณครูและผู้รู้
ออกแบบและให้ความรู้ตัดเย็บ ผ้า เป็นเสื้อ กระโปรงผ้าคลุมโต๊ะ กระเป๋าผ้า ผ้าเช็ดมือ เช็ดเท้า ฯลฯ







- ผู้ปกครองอาสาให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบตัดเย็บเสื้อจากผ้ามัดย้อม (ที่ทำไว้ใน Q.1) ในรูปแบบต่างๆ เช่น การเนาเท่ากัน การเนาไม่เท่ากัน การด้นถอยหลัง การสอย เป็นต้น



ลงมือปฏิบัติ การออกแบบตัดเย็บเสื้อ ผ้ากันเปื้อน จากผ้ามัดย้อม ผ้าบาติก "
นักเรียนสามารถเลือกและนำเสนอสิ่งที่ตนเองสนใจ อยากทำเองได้และต้องใช้งานได้จริง
-  Show and Share นำเสนอผลงาน
-  สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
หมายเหตุ
นักเรียนเรียนรู้การปักและการเย็บผ้า ผ่านกิจกรรมจิตศึกษาและช่วงเวลาว่าง

ภาระงาน
- ออกแบบการตัดเย็บเสื้อผ้าของตนเอง
ออกแบบการตัดเย็บผ้ากันเปื้อน

ชิ้นงาน
-   ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุม
เสื้อจากผ้ามัดย้อม
-   สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ความรู้
เข้าใจและสามารถออกแบบตกแต่งผ้าให้มีคุณค่าและสร้างสรรค์ โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หลายหลาก รวมทั้งนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเย็บผ้ามาประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น
5
โจทย์ 

ลายปัก ลายถักผ้า

Key Question :
นักเรียนจะสร้างสรรค์ลวดลาย
ลงบนผืนผ้าโดยใช้เส้นใยต่างๆได้อย่างไรบ้าง?

เครื่องมือคิด :
-Show and Share
-Brain storms

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน

สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
ภาพชิ้นงานการปักผ้าแบบต่างๆ
สื่อจริง เข็ม ด้าย สะดึง
- ดูงานผ้าแบบต่างๆ ทั้งงานปักเส้นด้ายสังเคราะห์ เส้นฝ้าย เส้นไหม เส้นไหมพรม
- สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการปักผ้าที่ใช้เส้นใย วัตถุดิบที่หลากหลาย ในรูปแบบต่างๆ
- ออกแบบวาดภาพบนผืนผ้าเกี่ยวกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในชุมชน
- ลงมือปฏิบัติ  “ งานปักผ้า (ปักแบบด้นถอยหลัง ลูกโซ่   เนาเท่ากัน เนาไม่เท่ากัน ทักทึบ ปักเส้น) 

- Show and Share นำเสนอผลงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-   - สนทนาแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการทำลายนูนลงบนผืนผ้า
-    ออกแบบลายปักผ้าและลงมือปักผ้า

ชิ้นงาน
- งานปัก งานถักผ้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากงานผ้า มาประยุกต์ใช้ในการตกแต่งเสื้อผ้าโดยวัสดุอุปกรณ์ที่หลายหลาก

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น










6
โจทย์  :
การดูแลรักษา และการซ่อมแซมเสื้อผ้า

Key Questions :
-        นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาผ้าที่สวมใส่แต่ละชนิดอย่างไรบ้าง?
-        เครื่องหมายสัญลักษณ์ในเสื้อผ้าเกี่ยวข้องอย่างไรกับเสื้อผ้าตัวนั้น?

เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking

สื่อ/อุปกรณ์ :
เศษผ้าสำหรับปะ
เข็มและด้าย
กรรไกรตัดผ้า
เข็มหมุด
กิจกรรม
เตรียมอุปกรณ์ในการซักผ้า
-  ศึกษาชนิดของผ้า  การทำความสะอาด การดูแลรักษา การเก็บรักษา   ผ้าแต่ละชนิด
-  ลงมือปฏิบัติการทำความสะอาดเสื้อผ้า (การซักผ้า   การรีดผ้า แบบเรียบ แบบมีกลีบ)
-  ลงมือปฏิบัติ การพับเสื้อผ้า การเก็บเสื้อผ้าใส่กระเป๋าเดินทางที่ถูกต้อง
-  ลงมือปฏิบัติซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด เช่น รังดุม   การปะผ้า การสอย การชุน


- ศึกษาค้นคว้าเครื่องหมายสัญลักษณ์ในเสื้อผ้า
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
ซ่อมแซมเสื้อผ้าด้วยการชุน การปะ การด้น การเนา และการสอย
การ์ตูนช่องสัญลักษณ์บนเสื้อผ้า
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษา และการซ่อมแซมเสื้อผ้า
ความรู้
เข้าใจและอธิบายวิธีการทำความสะอาด การดูแลรักษา การซ่อมแซม การเก็บรักษาผ้าแต่ละชนิดให้ใช้งานได้คุ้มค่าที่สุด  อีกทั้งเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์บนเสื้อผ้า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง








7
โจทย์ :
การเพิ่มมูลค่าจากผ้าเหลือใช้ / เศษผ้า

Key Question :
 นักเรียนจะมีวิธีการเพิ่มมูลค่าจากเศษผ้าที่มีอยู่แต่ละชนิดได้อย่างไรบ้าง ?

เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน

สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
- สื่อจริง เศษผ้า กระสอบ เชือก เส้นใย
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเพิ่มมูลค่าให้กับผ้าและเศษผ้าที่มีอยู่
ทำชิ้นงานเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผ้าและเศษผ้าที่มีอยู่ เช่น  โบ สมุดทำมือ ที่คาดผม  กระเป๋า  เบาะรองนั่ง  พรมเช็ดเท้า
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


นไปทัศนศึกษา
ความรู้
มองเห็นคุณค่าของเศษผ้าเหลือใช้ สามารถนำมาสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้เป็นของใช้ หรือสินค้า   ที่จำหน่ายได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง
8
โจทย์ :
ธุรกิจและอาชีพ

Key Question :
 นักเรียนจะนำเสนอสินค้าอย่างไรให้น่าสนใจและสร้างสรรค์?

เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Round Robin
- Show and Share
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน
- ร้านบานเช้า
- สื่อจริง เศษผ้า กระสอบ




-  เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบและผลิตสินค้าจากผ้า ที่ร้านบานเช้าในโรงเรียน
- วางแผนการตลาด เลือกสินค้าที่เหมาะสมแก่การจำหน่ายและสถานที่จำหน่ายโดยถ่ายทอดการวางแผนผ่านการวาดภาพและเขียนบรรยาย
นักเรียนขายสินค้าที่ตลาดใกล้บ้าน
- สรุป Show and Share นำเสนอผลงานการขายสินค้า
- สรุปการเรียนรู้ราสัปดาห์




ภาระงาน
วางแผนการตลาด เลือกสินค้าที่เหมาะสมแก่การจำหน่ายและสถานที่จำหน่าย

ชิ้นงาน
-   ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า เช่น  โบว์  
สมุดทำมือ
ที่คาดผม  กระเป๋า  เบาะรองนั่ง  พรมเช็ดเท้า
การ์ตูนช่องสรุปการขายสินค้า
-    สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถออกแบบการนำเสนอสินค้าและจัดจำหน่ายให้ผู้อื่นรู้จักได้อย่างสร้างสรรค์

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง











9
โจทย์ :
 สรุปองค์ความรู้หลังเรียน

Key Questions :
  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarterนี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ “ผ้า” ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไรบ้าง?
สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Card and Chart  
- Show and Share
- Mind Mapping
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียน :
-     ครู
-     นักเรียน

บรรยากาศ/สื่อ :
บรรยากาศในห้องเรียน
นักเรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อนำเสนอความจริงเกี่ยวกับหน่วย ผ้าเปลี่ยนแปลง มาจัดทำในรูปแบบที่น่าสนใจ(ชาร์ต ,ภาพวาด ,นิทานช่อง)และนำเสนอให้ครูเพื่อนและน้องๆได้รับฟัง
นักเรียนเขียนสิ่งที่ทำได้ดีและสิ่งที่ควรพัฒนาของตนเอง
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียนผ่านการจัดนิทรรศการหนังสือนิทานให้เพื่อนๆน้องๆได้ชม
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์และนำมาสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping หลังเรียน
สิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนา
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำเสนอและเผยแพร่องค์ความรู้ทั้ง Quarter นี้
- ถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่น
ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับบูรณาการหน่วย ผ้าให้ผู้อื่นเข้าใจ ชี้ให้เห็นคุณค่า สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำมาใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
- สามารถการวางแผนการนำเสนอการเรียนรู้ที่ผ่านมาให้แก่ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้ในรูปแบบที่น่าสนใจ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “ผ้า

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1/2559




สาระ
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping ก่อนเรียน


มาตรฐาน ว 1.2
อธิบายลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว(ว1.2 3/1)
มาตรฐาน   2.1
สำรวจสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก
ห้องเรียนของตนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัว
(ว2.1 3/1)

มาตรฐาน ส 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียนและในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
(ส2.2 3/1)
มาตรฐาน ส 4.1
บอกวันเดือนปีและสามารถนับช่วงเวลาตามปฏิทินเพื่อใช้ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ลำดับเหตุการณ์ของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งที่มาได้
(ส4.1 3/1)

มาตรฐาน ง 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองครอบครัวและส่วนรวม
(ง1.1 3/1)
มาตรฐาน ง 2.1
-เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ง2.1 3/1)



มาตรฐาน   3.1
-จัดรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กำหนด (พ3.1 5/1)
มาตรฐาน   5.1
-ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบ้าน โรงเรียน และการเดินทาง แสดงความช่วยเหลือบุคคลอื่นๆเมื่อเกิดเหตุร้ายหรืออุบัติเหตุแสดงวิธีการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการเล่นหรือเหตุการณ์อื่นๆ
(พ5.1 3/1-3)
มาตรฐาน   1.1
-ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
-วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้น รูปร่าง รูปทรง สี ได้ (ศ1.12/4-5)
มาตรฐาน ส 2.1
-บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(ส2.1 3/2)
จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1 3/1)
การได้มาของเส้นใย
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยไหม
การปลูกหม่อน
- กระบวนการเลี้ยงหนอนไหม
วงจรชีวิตของหนอนไหม
- วิธีการสาวไหม
เส้นใยสังเคราะห์






มาตรฐาน ว 1.1
อธิบายวัฏจักรชีวิตของหนอนไหมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงหนอนไหมได้
(ว1.1 4/5)
มาตรฐาน ว 2.2
สำรวจทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนแล้วอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนที่สามารถเลี้ยงหนอนไหมได้พร้อมทั้งใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์มากที่สุด(ว 2.2 3/1-3)
มาตรฐาน ว 8.1
-ตั้งคำถามและค้นหาคำตอบเกี่ยวกับการชักใยของเส้นไหมและการได้มาซึ่งเส้นใยสังเคราะห์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้และนำเสนอองค์ความรู้
(ว8.1 3/1)
มาตรฐาน ส 3.1
-      อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดมีผลต่อการผลิตเส้นใยไหมและเส้นใยสังเคราะห์ได้
 (3.1 3/3)
มาตรฐาน ส 5.1
-      เขียนแผนผังง่ายๆเพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่ที่เลี้ยงหนอนไหมของชุมชนได้
(ส5.13/2)
-      ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน
(ส5.2  3/5)



มาตรฐาน   4.1
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของชุมชนชุมชนที่มีการเลี้ยงหม่อนไหมและการใช้วัสดุสังเคราะห์ในชุมชนผลิตเส้นใยสังเคราะห์ได้
(ส4.1 3/2)

มาตรฐาน ง 1.1
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงานในการทำชิ้นงานให้น่าสนใจ  
(ง1.1 3/2)
-     เข้าใจธรรมชาติของท้องถิ่นสามารถนำมาปรับใช้กับกระบวนการทำงานได้อย่างเป็นขั้นตอนมีจินตนาการและความคิดอย่างมีระบบในการทำงาน
(ง1.1  3/3)
มาตรฐาน   1.1
เข้าใจธรรมชาติการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์เชื่อมโยงสู่หนอนไหมได้
(พ1.1 3/2)
มาตรฐาน ศ 1.1
-   บรรยายรูปร่างรูปทรง หนอนไหม เส้นไหมและใบหม่อนได้รวมทั้งออกแบบชิ้นงานของตนเองได้ 
(ศ1.1 3/1)
-   สามารถวาดภาพ ระบายสีหนอนไหม ใบหม่อนโดยใช้เส้น รูปร่าง สี และพื้นผิวได้ รวมทั้งออกแบบชิ้นงานของตนเองได้
(ศ1.1  3/6)
มาตรฐาน   2.1
-ปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวได้
(ส2.1 3/1)
ประเภท/ชนิดของผ้า
ผ้าจากธรรมชาติ
- ผ้าไหม
- ผ้าฝ้าย
- ลินิน
ขนสัตว์
ผ้าจากการสังเคราะห์
ผ้าไนลอน
ผ้ายืด
- ผ้ายีนส์







มาตรฐาน ว 3.1
สามารถจำแนกคุณสมบัติของผ้าแต่ละชนิดพร้อมบอกวัสดุในการประดิษฐ์ผ้าแต่ละชนิดได้อีกทั้งสามารถเลือกใช้ผ้าแต่ละชนิดได้อย่างเหมาะสมกับงานต่างๆได้
(ว3.1 3/1-2)

มาตรฐาน ส 3.1
สามารถจำแนกความต้องการและความจำเป็นในการใช้สินค้าประเภทผ้าใช้เหตุผลในการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายของตนเองครอบครัวและชุมชนในการเลือกซื้อเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมแต่ละชุมชนอีกทั้งใช้สิ่งของเสื้อผ้าที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์มากที่สุด
 ( 3.1 3/1-3)
มาตรฐาน ส 2.1
อธิบายวัฒนธรรมการแต่งกายของคนในชุมชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(ส2.1 3/2)
มาตรฐาน ง 1.1
เข้าใจกระการทำงานมีความคิดสร้างสรรค์มีทักษะการจัดการข้อมูลทักษะการแก้ปัญหาทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นการแสวงหาความรู้และมีเจตคติที่ดีในการทำงาน 
(ง1.1 3/1)
มาตรฐาน   1.1
เลือกใช้เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มได้อย่างเหมาะสมกับสภาพอากาศและสามารถทำความสะอาดเครื่องนุ่งห่มให้ถูกหลักอนามัยอยู่เสมอ (พ1.1 3/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถวาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
สามารถวาดภาพ อุปกรณ์เครื่องทอผ้าโดยใช้เส้นรูปร่างสีและพื้นผิวได้(ศ1.13/1 3/6)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 33.13/1)
การผลิตผ้า
- เลือกวัตถุดิบ
เตรียมอุปกรณ์
ขั้นตอนการทอ/ถัก
ผ้าทอ
ผ้าถัก






มาตรฐาน ว 2.1
เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นโดยสามารถสำรวจและตรวจสอบเพื่อที่จะเลือกวัตถุดิบในการผลิตผ้าได้
(ว2.13/1)


มาตรฐาน ส 3.1
สามารถอธิบายเหตุผลการแข่งขันการค้าที่มีผลต่อการผลิตผ้าและเศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับธุรกิจผ้า
(ส 3.1 3/1)
มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจและอธิบายความเป็นมาของการทอผ้าที่มีความสัมพันธ์กับชุมชนได้
(ส4.2 3/2)
มาตรฐาน ง 1.1
-    สามารถช่วยตนเองในการทำงานมีกระบวนการแก้ปัญหาด้วยตนเองและสามารถช่วยแนะนำและช่วยเหลือผู้อื่นได้
(ง 1.1 3/1)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงานมีความรับผิดชอบเก็บรักษาอุปกรณ์ให้เป็นหมวดหมู่
(ง1.1 3/2)
สามารถทำงานได้อย่างมีขั้นตอนกระบวนการ
(ง1.1 3/3)
มาตรฐาน พ 3.1
สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายขณะที่ใช้อุปกรณ์ได้
(พ3.1 3/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
 สามารถวาดภาพ อุปกรณ์เครื่องทอผ้าโดยใช้เส้นรูปร่างสีได้(ศ1.13/1 3/6)
มาตรฐาน ส 2.2
เคารพยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเห็นความสำคัญของบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคลและสามารถทำงานกลุ่มร่วมกับคนอื่นได้
(ส2.23/1-3)

ประโยชน์ของผ้า
ต่อตนเอง
-   ตกแต่ง
-   เครื่องนุ่งห่ม
-   เครื่องประดับ
-   ของใช้
ต่อเศรษฐกิจ
ต่ออุตสาหกรรมครัวเรือน






มาตรฐาน ว 3.1
-อธิบายการใช้ประโยชน์ของผ้าแต่ละชนิดเพื่อนำมาใช้ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้
 (3.1 3/2)
มาตรฐาน ว 8.1
สามารถเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมกับการทำงานได้
(ว8.1 3/3)


มาตรฐาน ส 3.1
อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดมีผลต่อการผลิตผ้าและการบริโภคสินค้าจากผ้า 
(ส 3.1 3/3)
มาตรฐาน ส 3.2
-    บอกสินค้าที่เกี่ยวกับผ้าที่รัฐบริการให้แก่ประชาชน
(ส 3.2 3/3)
-    อธิบายเหตุผลการแข่งขันทางการค้าที่มีผลทำให้ผ้ามีราคาสูงขึ้นหรือลดลง
(ส 3.2 3/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถสรุปความสำคัญประโยชน์ของผ้าที่สำคัญต่อขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนได้ (ส4.2 3/2)
มาตรฐาน ง 1.1
-ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน (ง1.1 3/2)
เข้าใจความหมายความสำคัญของประโยชน์ วิธี การขั้นตอนในการทำงานและสามารถทำงานได้ตามขั้นตอนแสวงหาความรู้และวิธีการแก้ปัญหา มีความรับผิดชอบและขยัน
(ง1.1 3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัว ชุมชนที่มีผลต่อตนเองในการแต่งกาย
(พ2.1 3/1)
-    เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพโดยการเลือกแต่งกายได้อย่างเหมาะสม
(พ4.1 3/5)
มาตรฐาน ศ 1.1
 -บรรยายรูปร่างรูปทรงจากผลิตภัณฑ์ได้(ศ1.13/1 )
ระบุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานได้
(ศ1.1 3/2 )
-    มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานได้
(ศ1.1 3/5 )
มาตรฐาน ส 2.1
สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่นได้
(ส2.1 3/1)

การดูแลรักษาผ้า
- จัดเก็บ
ซักรีด
ซ่อมแซม
ซัก





มาตรฐาน ว 2.2
อภิปรายและนำเสนอใช้ทรัพยากรของผ้าได้อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาผ้า
(ว2.2 3/3)
มาตรฐาน ว3.1
-  อธิบายการดูแลรักษาผ้าแต่ละชนิดได้ (ว3.13/3)
มาตรฐาน ส2.1
ระบุสาเหตุของการชำรุดของผ้าเปรียบเทียบความเหมือนหรือแตกต่างที่มีผลต่อการดูแลและซ่อมแซมผ้า
(ส2.1 3/1-3)
มาตรฐาน ส 5.2
สามารถอธิบายวิธีการจัดเก็บรักษาผ้าในยุคสมัยต่างๆได้
(ส5.2 3/2)
มาตรฐาน ง 3.1
สามารถนำเทคโนโลยีความรู้มาประยุกต์เพื่อนำมาใช้และดูแลรักษาได้อย่างเหมาะสม
(ง3.1 3/3)
มาตรฐาน พ4.1
เข้าใจและมีทักษะในการดูแลรักษาผ้า
(พ4.1 3/5)
มาตรฐาน ศ1.1
-   ระบุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดูแลรักษาผ้าได้ (ศ1.13/2)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่านเส้น รูปร่าง รูปทรงได้
(ศ1.1 3/6)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนตามมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1 1.13/1-2)
การออกแบบผลิตภัณฑ์
- ออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้า
ตกแต่งเสื้อผ้าของใช้สิ่งประดับจากเศษผ้า
- ออกแบบลวดลายบนผ้า



มาตรฐาน ว 2.2
อภิปรายและนำเสนอการใช้ผ้า ลวดลาย และเศษผ้า อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
(ว2.23/3)
มาตรฐาน ว 3.1
-  จำแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบในการออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าและเศษผ้าได้
(ว3.13/1)
-  อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิด
(ว3.1 3/2)
มาตรฐาน ส3.1
สามารถอธิบายเหตุผลการแข่งขันทางการค้าที่มีผลต่อการกำหนดราคาสินค้าและเศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับธุรกิจผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า
(ส3.1 3/1)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถสรุปความสำคัญของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนในการทอผ้าหรือผลิตภัณฑ์จากผ้า (ส 4.2 3/2)

มาตรฐาน ง 1.1
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือให้ตรงกับงาน
(ง1.1 3/2)

มาตรฐาน พ3.1
สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายได้ขณะที่ใช้อุปกรณ์ในการประดิษฐ์ชิ้นงาน
(พ3.1 3/1)
มาตรฐาน   1.1
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่านเส้น รูปร่าง รูปทรง สีได้
(ศ1.1 3/6)
มาตรฐาน ส 2.1
-   สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น
(ส 2.1 3/1)
-       บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
(ส 2.1 3/2)

วิวัฒนาการของผ้าและการแต่งกาย
ในอดีต ปัจจุบัน
และอนาคต
- รูปแบบลักษณะเสื้อผ้าและการแต่งกาย
-ความต้องการเสื้อผ้าของมนุษย์ในอนาคต





มาตรฐาน ว 2.1
เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นสามารถสำรวจตรวจสอบแหล่งผลิตผ้าในท้องถิ่นอภิปรายความสำคัญของผ้าจากในอดีตจนถึงปัจจุบันวิเคราะห์แนวทางของลักษณะของผ้าในอนาคต 
(ว2.1  3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
-     แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มโดยใช้ทักษะกระบวน
การทางวิทยาศาสตร์นำไปสู่การสร้างความรู้นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนและอธิบายกระบวนการและผลงานให้คนอื่นเข้าใจ
 (8.1 3/4)
มาตรฐาน ส 5.2
ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
(ส5.2  3/5)

มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ที่มีผลต่อความต้องการในการเลือกใช้ผ้าในอดีตถึงปัจจุบันอีกทั้งคาดการณ์ในอนาคตได้
(ส 4.2 3/1)


มาตรฐาน ง 1.1
เข้าใจกระบวนการทำงานและการจัดการการทำงานเป็นกลุ่มการแสวงหาความรู้รักการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่องาน
(ง 1.1 3/3)
มาตรฐาน ง 3.1
ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้
(ง 3.1 3/1)
- เข้าใจและเห็นคุณค่าในการใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นหาข้อมูลการสืบค้นข้อมูลการเรียนรู้การสื่อสารและแก้ปัญหา
(ง3.1 3/2)
มาตรฐาน พ 4.1
เห็นคุณค่าของการเลือกใส่เสื้อผ้าที่สะอาดเหมาะสมกับสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
(พ 4.1 3/5)



มาตรฐาน  1.1
สามารถวาดภาพในการถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริงโดยใช้เส้นรูปร่างรูปทรงสีและพื้นผิวได้
(ศ1.1 3/6)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3.13/1)
สรุปหน่วยการเรียนรู้
- เผยแพร่ความเข้าใจสู่ผู้อื่น
-Mind Mapping
-สรุปองค์ความรู้หลังการเรียน
-ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-ประเมินตนเองสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม






มาตรฐาน ว 2.1
สามารถอธิบายสำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองพร้อมทั้งอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้
(ว2.1 3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบศึกษาวิธีค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง
(ว8.1 3/2)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบบันทึกข้อมูล
(ว8.1 3/3)

- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกตสำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพหรือข้อความสั้นๆในการสรุปองค์ความรู้ได้
(ว8.1 3/6)
- สามารถเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(ว8.1 3/7)
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส2.1 3/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน
(ว2.1 3/4)


มาตรฐาน ส 4.1
เรียงลำดับเหตุการณ์และกระบวนการเรียนรู้เรื่องผ้าได้อย่างเป็นระบบ
(ส4.1 3/2)


มาตรฐาน   1.1
- สามารถบอกวิธีทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองในการสรุปองค์ความรู้ได้
(ง1.1 3/1)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้
(ง1.1 3/3)
มาตรฐาน   2.1
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ (ง2.13/3)
มาตรฐาน   3.1
ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ง3.1 3/1)





มาตรฐาน พ 2.1
สามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการเป็นสมาชิกกลุ่มได้
(พ2.1 3/1)
มาตรฐาน พ 3.1
สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงในการทำงานกลุ่มได้ (พ2.1 3/2)

มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพ ระบายสี สิ่งของรอบตัว
(ศ 1.1 3/4)
-   มีทักษะพื้นฐานในการใช้อุปกรณ์ต่างๆได้
(ศ 1.1 3/5)
มาตรฐาน ศ 2.1
ร้องเพลงดนตรีง่ายๆเกี่ยวกับผ้าได้
(ศ 1.1 3/4)
มาตรฐาน ส2.2
- เข้าใจและสามารถระบุบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส2.2 3/2)
-    มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นการตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ส2.2 3/3)











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น